Skip to content
  • TH
    • EN
    • CN
Menu
  • TH
    • EN
    • CN
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา
Menu
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา

ความสัมพันธ์ของโรคไตกับโรคหัวใจ

บทความ

โรงพยาบาลพระรามเก้า

  • วันที่โพสต์ 10 พฤษภาคม 2019

โรคไตและโรคหัวใจเป็นโรคที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน คือเป็นกลุ่มโรคที่ไม่ติดต่อกลุ่มโรคนี้เป็นกลุ่มโรคที่มี อัตราการเกิดและเสียชีวิตเพิ่มมากในเกือบทุกประเทศทั่วโลก

ความสําคัญของโรคกลุ่มนี้ คือสาเหตุการเกิด นั้นสามารถเกิดจากภาวะต่างๆหลายประการที่เรียกกันว่าปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงที่สําคัญ คือโรคเบาหวาน

ความดันโลหิตสูง ปัจจัยเสี่ยงทั้งสองนี้เป็นสาเหตุสําคัญที่นําไปสู่การเกิดโรคหัวใจและโรคไต โรคหัวใจและโรคไตเป็นโรคที่เกิดได้จากภาวะที่มีความผิดปกติของเส้นเลือดที่เกิดการแข็งตัวที่เรียกว่าโรคเส้น

เลือดแข็งตัว (atherosclerosis) โรคเส้นเลือดแข็งตัวนี้เป็นโรคที่พบได้บ่อยมากและเป็นสาเหตุการตายที่ สําคัญของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ความสําคัญของโรคเส้นเลือดแข็งตัวคืออัตราการเกิดและอันตรายของ ภาวะนี้พบได้น้อยลงมากในประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่สถิติกลับพบได้ว่าเกิดสูงมากขึ้นในประเทศที่กําลัง พัฒนาหรือประเทศยากจน ทั้งนี้เนื่องจากการดูแลป้องกันการเกิดปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดการแข็งตัวของ เส้นเลือดได้รับการดูแลแก้ไขได้ดีในประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยการรณรงค์ให้ความรู้และการปฏิบัติตัวแก่ ประชาชนให้มีการควบคุมภาวะเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อ้วน การสูบบุหรี่ ไขมันในเลือดสูง หลีกเลี่ยง จากความเครียด ออกกําลังกาย ภาวะต่างๆ เหล่านี้จะเป็นเหตุนําไปสู่การเกิดเส้นเลือดแข็งตัวเกิดภาวะ เส้นเลือดตีบนําไปสู่การเกิดโรคหัวใจและโรคไตได้เนื่องจากหัวใจและไตจะได้รับเลือดมาเลี้ยงได้ไม่เพียงพอใน กรณีที่เส้นเลือดแข็งตัวและตีบ

ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจเป็นระยะเวลานานเมื่อเกิดภาวะหัวใจวาย ระบบไหล เวียนเลือดผิดปกติเป็นสาเหตุที่สําคัญที่ทําให้การทํางานของไตผิดปกตินํา ไปสู่การเกิดโรคไตได้ ผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเป็นระยะเวลานานจนไตเสื่อมไม่สามารถขับของเสีย และ สารพิษออกจากร่างกายได้นําไปสู่ภาวะมีของเสีย และสารพิษคั่งค้างใน ร่างกายเป็นสาเหตุทําให้หัวใจทํางานได้ไม่ปกติเกิดโรคหัวใจได้ สาเหตุอีก ประการหนึ่งที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่เป็นโรคไตมานาน มักจะเกิดภาวะ ความดันโลหิตสูงซึ่งถ้าไม่ได้รับการควบคุมที่ดีจะนําไปสู่การเกิดภาวะหัวใจโต เกิดโรคหัวใจได้

ไก่เกิดก่อนไข่ หรือไข่เกิดก่อนไก่ เป็นสิ่งที่มักจะเป็นข้อสงสัย ที่ทุกคนไม่สามารถให้คําตอบได้เช่นเดียวกับโรคหัวใจและโรคไต โรคใดเกิดก่อนและนําไปสู่การเกิดอีกโรคหนึ่งนั้นก็เช่นเดียวกันเป็น ปัญหาที่ตอบยาก ทั้งนี้เนื่องจากทั้งสองโรคสามารถนําไปสู่การ เกิดโรคของอีกอวัยวะได้เสมอ การดูแลควบคุมโดยเฉพาะการ ป้องกันไม่ให้เกิดโรคหัวใจและโรคไต จึงควรเป็นสิ่งที่ทุกคนควร จะต้องให้ความสนใจและเอาใจใส่สิ่งที่ดีที่สุด คือการดูแลรักษา สุขภาพหลีกเลี่ยงภาวะที่จะทําให้เกิดปัจจัยเสี่ยงทั้งหลาย อ้วน เครียด ไม่ออกกําลังกาย ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันใน เลือดสูง ปรึกษาแพทย์ตรวจร่างกาย ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ เพื่อที่จะได้มีร่างกายที่แข็งแรงห่างไกลจากโรคหัวใจและโรคไต

คลิกดูแพ็กเกจที่เกี่ยวข้องที่นี่

แพ็กเกจตรวจสมรรถภาพร่างกายระบบหัวใจและปอด VO2 MAX

รายละเอียด

แพ็กเกจตรวจหาคราบหินปูนที่หลอดเลือดแดงของหัวใจ (CAC)

รายละเอียด

โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไต

รายละเอียด

โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไตและตรวจอัลตราซาวด์ระบบทางเดินปัสสาวะ

รายละเอียด

บทความล่าสุด

รักษามะเร็งเต้านม

แนวทางใหม่! รักษามะเร็งเต้านม ด้วยวิธีผ่าตัดสงวนเต้า และการเสริมสร้างเต้านมใหม่

อ่านเพิ่มเติม
เด็กหลอดแก้ว

การทำเด็กหลอดแก้ว เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์สำหรับผู้มีบุตรยาก

อ่านเพิ่มเติม
ลำไส้แปรปรวน

โรคลำไส้แปรปรวน สาเหตุการปวดท้องเรื้อรัง อืดแน่นท้อง ขับถ่ายผิดปกติ

อ่านเพิ่มเติม
ดูบทความทั้งหมด

ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกับ Praram 9 V

ปรึกษาแพทย์ได้ทุกที่ผ่านทางวิดีโอคอล (Telemedicine)

  • Praram 9 V
  • Praram 9 V

แพทย์ผู้เขียนบทความ

 

ศูนย์แพทย์

1677919536144

สถาบันโรคไตและเปลี่ยนไต

เยี่ยมชม

ดูทั้งหมด

บทความอื่นๆ

รักษามะเร็งเต้านม

แนวทางใหม่! รักษามะเร็งเต้านม ด้วยวิธีผ่าตัดสงวนเต้า และการเสริมสร้างเต้านมใหม่

การรักษามะเร็งเต้านมด้วยวิธีการผ่าตัดสงวนเต้า ช่วยให้ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมไม่ต้องถูกตัดเต้านมออกทั้งหมด หรือหากจำเป็นต้องผ่าตัดเต้านมออก ก็สามารถทำการผ่าตัดสร้างเสริมเต้านมได้เช่นกัน

อ่านเพิ่มเติม
เด็กหลอดแก้ว

การทำเด็กหลอดแก้ว เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์สำหรับผู้มีบุตรยาก

การทำเด็กหลอดแก้ว หรือ IVF เป็นเทคโนโลยีเจริญพันธุ์ที่เพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์สำหรับคู่สามีภรรยาที่มีบุตรยาก ช่วยเติมเต็มครอบครัวให้สมบูรณ์

อ่านเพิ่มเติม
ลำไส้แปรปรวน

โรคลำไส้แปรปรวน สาเหตุการปวดท้องเรื้อรัง อืดแน่นท้อง ขับถ่ายผิดปกติ

ภาวะผิดปกติเรื้อรังของลำไส้ หรือโรคลำไส้แปรปรวน (IBS) อาจมีอาการคล้ายโรคมะเร็งลำไส้ สามารถตรวจสอบเพื่อแยกโรค และรักษาให้เหมาะสม

อ่านเพิ่มเติม
อ่านบทความทั้งหมด

แพ็กเกจยอดนิยม

แพ็กเกจตรวจสุขภาพน้องใหม่วัยชิลล์

รายละเอียด

แพ็กเกจตรวจสุขภาพรุ่นพี่วัยชิค

รายละเอียด

แพ็กเกจตรวจสุขภาพรุ่นใหญ่วัยเก๋า

รายละเอียด

ดูแพ็กเกจทั้งหมด
Facebook-f Youtube Instagram Line
  • 1270
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • นัดหมาย
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ข่าว และกิจกรรม รพ.
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดและเงื่อนไข

Copyright © 2021 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital

Menu
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา