Skip to content
  • TH
    • EN
    • CN
    • AR
  • TH
    • EN
    • CN
    • AR
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Praram 9 Star Doctors
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา
Menu
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Praram 9 Star Doctors
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา

โรคมะเร็ง

บทความ

โรงพยาบาลพระรามเก้า

  • วันที่โพสต์ 10 พฤษภาคม 2019

เมื่อผลการตรวจเลือดของท่านพบว่าระดับสารบ่งชี้มะเร็งในทางเดินอาหาร ( CEA) ซึ่งมีผลเป็นปกติอาจไม่ได้เป็นสิ่งตัดสินว่าท่านไม่มีโรค เพราะเนื้องอกหรือมะเร็งของอวัยวะใด อวัยวะหนึ่ง อาจไม่ได้สร้างสารเคมีที่สามารถตรวจได้จากระดับเลือดเหมือนกันทั้งหมด

ดังนั้นหากท่านอายุ 50 ปีขึ้นไป หรืออายุหน้อยกว่า 50 ปี แต่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคมะเร็ง หรือมีอาการผิดปกติที่อาจบ่งบอกถึงโรคมะเร็ง เช่น เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลงผิดปกติ ปวดท้องเรื้อรัง กลืนอาหารลำบาก ท้องโต คลำพบก้นในช่องท้อง การขับถ่ายอุจจาระเปลี่ยนไปจากเดิม อุจจาระมีเลือดปน

ท่านควรได้รับการตรวจโดยการส่องกล้องกระเพาะอาหาร และลำไส้ใหญ่ (Gastroscope & Colonoscope) ซึ่งเป็นวิธีที่ดีที่สุด เพราะสามารถตรวจพบความผิดปกติของเนื้องอกได้ตั้งแต่ระยะแรกเริ่มที่มีขนาดเล็กแล้วสามารถตัดชิ้นเนื้อที่สงสัยว่าผิดปกติทิ้งไปได้ผ่านเครื่องมือที่สอดสายเข้าไปในสายของกล้องได้อย่างปลอดภัย

ในปัจจุบันนี้มีวิธีการตรวจลำไส้ใหญ่โดยการเอกซเรย์คอมพิวเตอร์เฉพาะส่วนของลำไส้ใหญ่ (CT Colonoscope) แล้วนำภาพที่ได้จากการตรวจไปสร้างภาพ 3 มิติ ทำให้ได้ภาพเสมือนการตรวจโดยการส่องกล้อง ทั้งนี้วิธีการดังกล่าว มีข้อจำกัดตรงที่เมื่อตรวจพบความผิดปกติจะไม่สามารถตัดชิ้นเนื้อออกมาตรวจสอบได้ การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ จึงถือได้ว่าเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับที่พบว่ามีอาการผิดปกติ และต้องการตรวจเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งในระยะเริ่มต้นโดยไม่ต้องตรวจด้วยวิธีการส่องกล้อง

บทความล่าสุด

หัวใจล้มเหลว

หัวใจล้มเหลว อาการเป็นอย่างไร ป้องกันได้อย่างไรบ้าง

อ่านเพิ่มเติม
ลิ้นหัวใจเทียม

ลิ้นหัวใจเทียมคืออะไร? ทำไมต้องเปลี่ยน? และอะไรบ้างที่คุณควรรู้?

อ่านเพิ่มเติม
บอลลูนหัวใจ

บอลลูนหัวใจ: แก้ปัญหาหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่

อ่านเพิ่มเติม
ดูบทความทั้งหมด

ปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญกับ Praram 9 V

ปรึกษาแพทย์ได้ทุกที่ผ่านทางวิดีโอคอล (Telemedicine)

  • Praram 9 Hospital
  • @praram9hospital

แพทย์ผู้เขียนบทความ

 

ศูนย์แพทย์

บทความอื่นๆ

หัวใจล้มเหลว

หัวใจล้มเหลว อาการเป็นอย่างไร ป้องกันได้อย่างไรบ้าง

หัวใจล้มเหลวคือภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนและสารอาหารไม่เพียงพอ อาการสำคัญที่ควรสังเกต ได้แก่ เหนื่อยง่าย หายใจลำบาก ขาบวม และน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มักเกี่ยวข้องกับโรคหัวใจและหลอดเลือด การวินิจฉัยและรักษาอย่างรวดเร็วจะช่วยลดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนรุนแรง

อ่านเพิ่มเติม
ลิ้นหัวใจเทียม

ลิ้นหัวใจเทียมคืออะไร? ทำไมต้องเปลี่ยน? และอะไรบ้างที่คุณควรรู้?

การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจเทียมเป็นหนึ่งในวิธีการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาลิ้นหัวใจผิดปกติ และการผ่าตัดเปลี่ยนลินหัวใจจะช่วยฟื้นฟูการทำงานของหัวใจให้กลับมาใกล้เคียงปกติ อย่างไรก็ตามผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาจะต้องได้รับการประเมินอย่างละเอียด เพื่อเลือกชนิดของลิ้นหัวใจที่เหมาะสม

อ่านเพิ่มเติม
บอลลูนหัวใจ

บอลลูนหัวใจ: แก้ปัญหาหลอดเลือดหัวใจตีบ โดยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่

การทำบอลลูนหัวใจหรือ PCI เป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพในการรักษาภาวะหลอดเลือดหัวใจตีบ ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้สะดวก ลดอาการเจ็บหน้าอก และลดความเสี่ยงของหัวใจวาย เป็นการเปิดหลอดเลือดโดยไม่ต้องผ่าตัดใหญ่ ทำให้ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยยังคงต้องดูแลสุขภาพ หมั่นออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ และลดปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อรักษาสุขภาพของหัวใจในระยะยาว

อ่านเพิ่มเติม
อ่านบทความทั้งหมด
Facebook-f Youtube Instagram Line
  • 1270
  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • นัดหมาย
  • บทความสุขภาพ
  • แพ็กเกจ
  • ข่าว และกิจกรรม รพ.
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • นักลงทุนสัมพันธ์
  • การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อเรา
  • ข้อกำหนดและเงื่อนไข

Copyright © 2025 All Rights Reserved | Praram 9 Hospital

  • เกี่ยวกับเรา
  • ศูนย์การแพทย์
  • ค้นหาแพทย์
  • ห้องพัก
  • Health Guru
    • บทความสุขภาพ
    • Praram 9 Star Doctors
  • แพ็กเกจ
  • ติดต่อเรา